-ทฤษฎีแกล้งดิน-
แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเ
-ฝนหลวง-
ในปี พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ เสด็จพระราชดำเนินเพื่อทรงเ ยี่ยม พสกนิกรในภาคตะวันออกเฉียงเ หนือ ย่านบริเวณเทือกเขาภูพานทรง สังเกตว่า มีปริมาณเมฆมากปกคลุมเหนือพ ื้นที่ระหว่างเส้นทางบิน แต่ไมสามารถรวมตัวจนเกิดเป็ นฝนตกได้ ทั้งที่เป็นช่วงฤดูฝน และทรงพบเห็นว่าหลายแห่งประ สบปัญหา พื้นดินแห้งแล้ง ขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูเพาะ ปลูก เกษตรกรมักประสบความเดือดร้อนจากภา วะฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงในระยะวิกฤติ ของพืชผล ทำให้ผลผลิตต่ำ หรืออาจไม่มีผลผลิตเลย และอาจทำให้ ผลผลิตที่มีอยู่เสียหายได้ จึงเป็นความเดือดร้อนอย่างส าหัส และก่อให้เกิดความสูญเสียทา งเศรษฐกิจแก่เกษตรกรอย่างให ญ่หลวง นอกจากนี้ความต้องการใช้น้ำ มีมากขึ้น เพราะการขยายตัวทางด้านอุตส าหกรรมเกษตรกรรม และการเพิ่มขึ้นของประชากร ซึ่งมีผลให้ปริมาณน้ำต้นทุน จากทรัพยากรน้ำที่มีอยู่ไม่ เพียงพอ ซึ่งเห็นได้ชัดจากปริมาณ น้ำในเขื่อนภูมิพลที่ลดลงอย ่างน่าตกใจ ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล และทรงความอัจฉริยะของพระอง ค์ด้วยคุณลักษณะของนักวิทยา ศาสตร์ ทรงสังเกตวิเคราะห์ข้อมูลใน ขั้นต้น และได้มีพระราชดำริครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2498 แก่หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล ว่าจะทรงค้นหา วิธีการที่จะทำให้เกิดฝนตกน อกเหนือจากที่จะได้รับจากธร รมชาติโดยการนำเทคโนโลยีสมั ยใหม่มาประยุกต์ กับทรัพยากร ที่มีอยู่ให้เกิดมีศักยภาพข องการเป็นฝนให้ได้ "ฝนหลวง" หรือ"ฝนเทียม" จึงกำเนิดขึ้นโดยประยุกต์ผล การวิจัยค้นคว้าทางวิชาการด ้านฝนเทียมของประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอิสราเอล ภายใต้การพระราชทานข้อแนะนำ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวอย่าง ใกล้ชิดพร้อมกันนี้ได้มีการ จัดตั้ง "สำนักงานปฎิบัติการฝนหลวง" ขึ้น เพื่อรับผิดชอบการดำเนินงาน ฝนหลวงในระยะต่อ มาจนถึงปัจจุบัน พระบรมราโชบายในการพัฒนาโคร งการพระราชดำริ "ฝนหลวง" ทรงเน้นความจำเป็นในด้านพัฒ นาการ และปรับปรุงวิธีการทำฝนในแน วทางของการออกแบบการปฎิบัติ การ การ ติดตามและประเมินผลที่เป็นก ระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากข ึ้น ตลอดจนความเป็นไปได้ในการใช ้ประโยชน์ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อไศึกษารูปแบบเมฆและการ ปฎิบัติการทำฝนให้บรรลุตามว ัตถุประสงค์ของโครงการ ทรงย้ำถึงบทบาทของการดัดแปร สภาพอากาศ หรือการทำฝนว่าเป็นองค์ประก อบที่สำคัญอันหนึ่งในกระบวน การจัดการทรัพยากรแหล่งน้ำ ทรงเน้นความร่วมมือประสานงา นของหน่วยงาน และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ที่จะเป็นกุญแจสำคัญในอันที ่จะทำ ให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ข องโครงการได้
ทรงวิเคราะห์การทำฝนหลวงว่า มี 3 ขั้นตอน คือ
ในปี พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงวิเคราะห์การทำฝนหลวงว่า
ขั้นตอนที่ 1 ก่อกวน
เป็นการกระตุ้นให้เมฆรวมตัว เป็นกลุ่มแกน เพื่อใช้เป็น แกนกลางในการสร้างกลุ่มเมฆฝ นในระยะต่อมา สารเคมีที่ใช้ ได้แก่ แคลเซียมคลอไรแคลเซียมคาร์ไ บด์ แคลเซียมอ๊อกไซด์ หรือสารผสมระหว่าง เกลือแกงกับสารยูเรีย หรือสารผสม ระหว่างสารยูเรียกับแอมโมเน ียมไนเตรท ซึ่งสารผสมดังกล่าวนี้จะก่อ ให้เกิดกระบวนการกลั่นตัวขอ งไอน้ำในอากาศ
เป็นการกระตุ้นให้เมฆรวมตัว
ขั้นตอนที่ 2 เลี้ยงให้อ้วน
ขั้นตอนนี้ใช้สารเคมี คือ เกลือแกง สารประกอบสูตร ท.1 สารยูเรีย สารแอมโมเนียไนเตรท น้ำแข็งแห้ง และอาจใช้สารแคลเซียมคลอไรด ์ร่วมด้วยเพื่อเป็นการเพิ่ม แกนเม็ดไอน้ำ (Nuclii) ให้กลุ่มเมฆฝน มีความหนาแน่นมากขึ้น
ขั้นตอนนี้ใช้สารเคมี คือ เกลือแกง สารประกอบสูตร ท.1 สารยูเรีย สารแอมโมเนียไนเตรท น้ำแข็งแห้ง และอาจใช้สารแคลเซียมคลอไรด
ขั้นตอนที่ 3 โจมตี
สารเคมีที่ใช้ในขั้นตอนนี้เ ป็นสารเย็นจัด คือซิลเวอร์ไอโอได น้ำแข็งแห้ง เพื่อทำให้เกิดภาวะความไม่ส มดุลมากที่สุด ซึ่งจะเกิดเป็นเม็ดน้ำ ที่มีขนาดใหญ่มาก และตกกลายเป็นฝนในที่สุดอย่ างไรก็ดี ทุกขั้นตอนจะต้องอาศัยความร ู้และประสบการณ์ในการตัดสิน ใจที่จะเลือกใช้สารเคมีในปร ิมาณที่พอเหมาะ ทั้งนี้จะต้องคำนึงถึงสภาพอ ากาศสภาพภูมิประเทศ ทิศทางและความเร็วของลม ตลอดจนกำหนดบริเวณหรือแนวพิ กัด ที่จะโปรยสารเคมี บทบาท "ฝนหลวง" วันนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำใ นการเกษตรในช่วงที่เกิดภาวะ ฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงยาวนาน เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำ ให้กับพื้นที่ลุ่มรับน้ำของ แม่น้ำสายต่างๆ ที่มีปริมาณน้ำต้นทุนลดน้อย ลง เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ เพื่อการอุปโภคบริโภค เสริมสร้างเส้นทางคมนาคมทาง น้ำ เป็นการเพิ่มปริมาณน้ำโดยเฉ พาะในบริเวณแม่น้ำที่ตื้นเข ินให้สามารถใช้เป็นเส้นทางค มนาคมได้ เพื่อป้องกันและบำบัดภาวะมล พิษของสิ่งแวดล้อม "ฝนหลวง" ได้บรรเทาภาวะแวดล้อมเป็นพิ ษอันเกิดจากการระบาย น้ำเสีย และขยะมูลฝอยลงสู่แม่น้ำเจ้ าพระยา ปริมาณน้ำจากฝนหลวงจะทำให้ภ าวะมลพิษจากน้ำเสียเจือจางล ง เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำในเขื่อ นภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์เ พื่อผลิตกระแสไฟฟ้าฝนหลวงใน อนาคตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย ู่หัวได้พระราชทานแนวความคิ ดให้ทำการศึกษาวิจัยพัฒนา ฝนหลวงหลายประการ คือ สร้างจรวดฝนเทียมบรรจุสารเค มีจากพื้นดินเข้าสู่เมฆหรือ ยิงจากเครื่องบิน การใช้เครื่องพ่นสารเคมีอัด แรงกำลังสูงจากยอดเขาสู่ฐาน ของก้อนเมฆโดยตรง เพื่อช่วยให้เมฆที่ลอยปกคลุ มอยู่เหนือยอดเขาสามารถรวมต ัวหนาแน่น จนเกิดฝนตกลงสู่บริเวณภูเขา หรือพื้นที่ใต้ลมของภูเขา
สารเคมีที่ใช้ในขั้นตอนนี้เ
-ทฤษฎีการป้องกันการเสื่อมโ ทรมและพังทลายของดินโดยหญ้า แฝก-
ทฤษฎีการป้องกันการเสื่อมโท รมและพังทลายของดินโดยหญ้าแ ฝก พืชจากพระราชดำริ : กำแพงที่มีชีวิตในการอนุรัก ษ์และคืนธรรมชาติสู่แผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงสภาพปัญหาการช ะล้างพังทลายของดินและการสู ญเสียหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ จึงทรงศึกษาถึงศักยภาพของ “หญ้าแฝก” ซึ่งเป็นพืช พื้นบ้านของไทย ที่มีคุณสมบัติพิเศษในการช่ วยป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้า
ดินและอนุรักษ์ความชุ่มชื้น ใต้ดิน ซึ่งมีวิธีการปลูกแบบง่าย ๆ เกษตรกรสามารถดำเนินการได้เ องโดยไม่ต้องให้การดูแลหลัง การปลูกมากนัก ทั้งประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าว ิธีอื่น ๆ อีกด้วย จึงได้พระราชทานพระราชดำริใ ห้ดำเนินการศึกษาทดลองเกี่ย วกับหญ้าแฝก ลักษณะของหญ้าแฝก หญ้าแฝกมีชื่อสามัญเป็นภาษา อังกฤษว่า Vetiver Grass มีด้วยกัน 2 สายพันธุ์ คือ หญ้าแฝกดอน (Vetiveria nemoralis A. Camus) และ หญ้าแฝกหอม(Vetiveria zizanioides Nash) เป็นพืชที่มีอายุได้หลายปี ขึ้นเป็นกอแน่น มีใบเป็นรูปขอบขนานแคบปลายส อบแหลม ยาว 35-80 ซม.มีส่วนกว้าง 5-9 มม. หญ้าแฝกจะมีการขยายพันธุ์ที ่ได้ผลรวดเร็ว
ทฤษฎีการป้องกันการเสื่อมโท
ดินและอนุรักษ์ความชุ่มชื้น
-เส้นทางเกลือ-
จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยู่หัวเสด็จเยี่ยมเยียนร าษฎรในพื้นที่ต่าง ๆ ทางภาคเหนือ และภาคอีสาน พบว่าปัญหาการขาดสารไอโอดีน จนเกิดโรคคอพอก มีเป็นจำนวนมาก และมีราษฎรขอรับการรักษาจาก คณะแพทย์หลวงที่ตามเสด็จอยู ่เสมอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ ทรงสนพระราชหฤทัย เกี่ยวกับการ แก้ไขโรคขาดสารไอโอดีนเป็นอ ย่างมาก เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเสด็จไปเยี่ยมชมกิจกรรม ของวิทยาลัยเทคนิค เชียงใหม่ ซึ่งได้ทอดพระเนตรเห็นการสา ธิตการทำงานของเครื่องผสมเก ลือไอโอดีน ซึ่งทางมหาวิทยาลัย เทคนิคได้ผลิตขึ้น และน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุด าฯ เพื่อพระราชทานให้แก่จังหวั ดต่างๆ ในภาคเหนือที่ราษฎรกำลังประ สบปัญหาของ การขาดสารไอโอดีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำรัสว่า "...ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาขอ งการขาดสารไอโอดีนของราษฎรโ ดยสำรวจในแต่ละพื้นที่ถึงปั ญหาและความต้องการของเกลือซ ึ่งแต่ละท้องถิ่นที่จะมีปัญ หาและความต้องการไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะต้องสำรวจเส้นทางเก ลือว่าผลิตมาจากแหล่งใด ก็น่าที่จะนำเอาไอโอดีนไปผส มกับผลิตต้นทางเกลือเสียเลย ทีเดียว..."
วิธีการดำเนินการตามแนวพระร าชดำริ "เส้นทางเกลือ" ศึกษาและหาแนวทางแก้ไขปัญหา การขาดแคลนสารไอไอดีน โดยการค้นหา "เส้นทางเกลือ" ตั้งแต่แหล่งผลิตจนถึงผู้บริโภค นำไอโอดีนไปผสมที่แหล่งผลิต หรือแหล่งจัดจำหน่ายโดยเติม ให้ฟรีก่อน หากภายหลังพ่อค้าและเกิดเอก ชนเกิดศรัทธาสมทบก็สามารถทำได้ บางท้องที่ที่ไม่อาจเติมไอโ อดีนที่แหล่งต้นทางได้ ทรงแนะนำว่าควรนำเครื่องผสม ไอโอดีนไปบริการในลักษณะ หน่วยบริการเคลื่อนที่เข้าไ ปในหมู่บ้านต่างๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงกำหนดให้อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นอำเภอต้นแบบในการศึกษาแ ก้ไข ปัญหาการขาดแคลนสารไอโอดีนว่ามี "เส้นทางเกลือ" มาจากแหล่งใดผลการสำรวจ "เส้นทางเกลือ" ตั้งแต่ เดือนเมษายน 2536 สรุปได้ว่า
- เกลือผสมไอไอดีนส่วนใหญ่เป็ นเกลือป่น
- เกลือที่ไม่ผสมสารไอโอดีนเพ ิ่มเข้าไปจะมีทั้งเกลือป่นแ ละเกลือเมล็ด
รัตนราชสุดาฯ ทรงสนพระราชหฤทัย เกี่ยวกับการ แก้ไขโรคขาดสารไอโอดีนเป็นอ
วิธีการดำเนินการตามแนวพระร
- เกลือผสมไอไอดีนส่วนใหญ่เป็
- เกลือที่ไม่ผสมสารไอโอดีนเพ
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตล อดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปล งอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและ วิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่ง ยืนของการพัฒนา ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องม ีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และต้องประกอบไปด้วยสองเงื่ อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรมปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดังนี้
ข้อที่ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางก ารดำรงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเ ป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิต ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที ่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเ วลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที ่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเ วลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤตเพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา
ข้อที่ 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับกา รปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายก ลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอ น
ข้อที่ 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้ว ย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียด เบียนตนเอง และผู้อื่น เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับ พอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับข องความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่ เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผล ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท ำ
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียด
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับข
นั้น ๆ อย่างรอบคอบ
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลก ระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงคว ามเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่า งๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งใกล้ และไกล
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ข้อที่ 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจ กรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้
1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เห ล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโ ยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิ บัติ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด ้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิ ต
1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด
ข้อที่ 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเ พียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงใ นทุกด้านทั้งด้านเศรษฐกิจ
สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยีนั่นคือ หลักแนวคิด และแนวทางเพื่อการปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง ซึ่งไม่ว่าจะเป็นบุคคล หรือองค์กรต่างๆ สามารถปฏิบัติตามได้
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรง อยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบ ครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ ื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิว ัตน์ ความพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องม ีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอ ก และภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบร ู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมส ร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาต ิโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้ม ีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็นอย่างดี หลักแนวคิดของเศษฐกิจพอเพีย ง คือ การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเ พียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื ้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
ในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระทำ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้
ในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ
3 ห่วง คือทางสายกลาง ประกอบไปด้วย ดังนี้
ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่าน้อยจ นเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบีย นตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน
ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับข องความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโ ดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เ กี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจ ะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ
ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลก ระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านก ารต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงคว ามเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่า งๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนา คตทั้งใกล้และไกล
ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่าน้อยจ
ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับข
ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง
2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับ วิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอ ย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เห ล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโ ยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นตอน ปฏิบัติ คุณธรรมประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิ ต
เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมี ความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิ ต
นั่นคือสรุปรวบยอดของ เศรษฐกิจพอเพียง สรุปได้เป็น 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังที่ได้กล่าวมา หลายๆคนอ่านมาจนถึงบรรทัดนี ้ แล้วคงกระจ่างกันสักที เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงแบ บ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังที่ได้กล่าวไปแล้วนั้น
เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับ วิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอ
เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมี
นั่นคือสรุปรวบยอดของ เศรษฐกิจพอเพียง สรุปได้เป็น 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังที่ได้กล่าวมา หลายๆคนอ่านมาจนถึงบรรทัดนี
การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสามารถทำได้โดยยึดหลักสายกลาง ไม่ประหยัดจนตระหนี่ถี่เหนียว หรือฟุ้งเฟ้อจนเกินความจำเป็น กล่าวคือ ประหยัดในทางที่ถูกต้อง และลดละความฟุ่มเฟือย รวมทั้งต้องประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องสุจริตแม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพก็ตาม ก็ต้องไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก โดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสำคัญ แต่ทั้งนี้ต้องไม่เป็นการแก ่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าขา ยหรือประกอบอาชีพแบบต่อสู้ก ันอย่างรุนแรง ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่วให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้เนื่องจากสังคมไทยที ่ล่มสลายลงเพราะยังมีบุคคลจ ำนวน ไม่น้อยที่ดำเนินการโดยปราศ จากความละอายเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาใ ช้เป็นหลักในการดำเนินชีวิต ได้เพราะเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญา เป็นแนวปฏิบัติตนไม่ว่าจะอย ู่ในกิจกรรม หรืออาชีพใด ก็ต้องยึดถือวิถีไทยอยู่แต่ พอดี อย่าฟุ่มเฟือยอย่างไร้ประโย ชน์ อย่ายึดวัตถุเป็นที่ตั้ง ยึดเส้นทางสายกลางอยู่กินตา มฐานะ ใช้สติปัญญาในการดำรงชีวิต เจริญเติบโตอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป อย่าใช้หลักการลงทุนเชิงการ พนัน ซึ่งตั้งอยู่บนความเสี่ยง กู้เงินมาลงทุนโดยหวังรวยอย ่างรวดเร็ว แล้วก็ไปสู่ความล้มละลายในท ี่สุด
เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นปรัช ญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย ู่หัวฯ ได้พระราชทานเพื่อชี้แนะแนว ทางในการดำเนินชีวิตและปฏิบ ัติตนให้กับประชาชนชาวไทยทุ กหมู่เหล่า ทุกระดับ ทุกสาขาอาชีพ โดยทรงห่วงใยต่อสถานการณ์ และปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่มีผลมาจากการพัฒนาประเทศ ในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำรงอย ู่ของประชาชนชาวไทยและสังคม ไทยโดยรวม จึงทรงเตือนทุกฝ่ายให้รู้จั กคำว่า "พอเพียง” อย่าทำอะไรเกินตัว ทำอะไรด้วยสติ มีความรอบคอบระมัดระวัง ดำรงชีวิตอย่างสมถะ และสามัคคี ซึ่งจะนำพาตนเองและประเทศชา ติให้รอดพ้นจากภาวะวิกฤตต่า ง ๆ และนำพาสังคมและประเทศชาติไ ปสู่ความมั่นคง และความสุขได้
ทฤษฎีการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเอ งของเกษตรกรอันเนื่องมาจากพ ระราชดำริ (Self Reliance Theory) แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพ ัฒนาชนบทที่สำคัญ คือ การที่ทรงมุ่งช่วยเหลือพัฒน าให้เกิดการพึ่งตนเองได้ของ คนใน ชนบทเป็นหลัก กิจกรรม และโครงการ ตามแนวพระราชดำริที่ดำเนินก ารอยู่หลายพื้นที่ทั่วประเท ศในปัจจุบันนั้นล้วนแล้วแต่ มีเป้าหมายสุดท้ายอยู่ที่กา ร พึ่งตนเองได้ ของราษฎรทั้งสิ้น โดยการพัฒนาทั้งด้านอาชีพแล ะส่งเสริมการเกษตร ให้เกษตรกรสามารถดำรงชีพอยู ่ได้อย่างมั่นคงเป็นปึกแผ่น ทรงดำเนินการแนะนำสาธิตให้ป ระชาชน ดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบ าทเป็นไปตามหลักการพัฒนาสัง คมชุมชนอย่างแท้จริงโดยทรงม ีหลักอยู่ว่า
ทรงไม่ใช้วิธีการสั่งการให้ เกษตรกรปฎิบัติ ทรงเน้นให้พึ่งตนเองและช่วย เหลือตนเองเป็นสำคัญ ทรงใช้หลักการมีส่วนร่วมของ ประชาชน
ทรงใช้หลักประชาธิปไตยในการ ดำเนินการ หากเจ้าหน้าที่ทักท้วงสิ่งใ ดทางวิชาการจะทรงรับฟังข้อส รุปอย่างเป็น กลาง หากสิ่งใดที่เจ้าหน้าที่กรา บบังคมทูลว่าปฎิบัติได้ แต่ผลลัพธ์อาจไม่คุ้มค่ากับ เงินที่ลงไป ก็ทรงให้เปลี่ยนแปลงโครงการ ได้เสมอ ทรงยึดสภาพของท้องถิ่นเป็นห ลักในการดำเนินงานตามโครงกา รอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทั้งด้านสภาพแวดล้อม ทางภูมิศาสตร์ วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประ เพณีของแต่ละท้องถิ่นในแต่ล ะภูมิภาคของประเทศ การสร้างความแข็งแรงให้ชุมช น ด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐ านหลักที่จำเป็นต่อการผลิตอ ันเป็นรากฐานนำไปสู่การ พึ่งตนเองได้ในระยะยาว ซึ่งเป็นการพัฒนาในลักษณะกา รเตรียมชุมชนให้พร้อมต่อการ ติดต่อสัมพันธ์กับโลกภายนอก ทรงเรียกว่า "การระเบิดจากข้างใน" และทรงชี้แนะว่าควรทำอย่างค ่อยเป็นค่อยไป ทรงสนับสนุนให้มีการส่งเสริ มความรู้ด้านต่างๆ ด้วยทรงตระหนักว่า ชาวชนบทควรจะมีความรู้ในเรื ่องของการทำ มาหากิน การทำการเกษตรโดยใช้เทคโนโล ยีที่เหมาะสม โดยทรงเน้นถึงความจำเป็นที่ จะต้องมี "ตัวอย่างแห่งความสำเร็จ" ที่ชาวบ้านสามารถรับและนำไป ปฎิบัติได้ผลจริง
ทรงปฏิรูประบบราชการให้เกิด เอกภาพทางการบริหาร (Single Management or Unity Administration) อันเป็นลักษณะ พิเศษของศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ คือ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่อ งมาจากพระราชดำริ มีเอกภาพทางการบริหาร โดยได้ทำหน้าที่บริหารทั้งส องทางในเวลา เดียวกัน คือ บริหารงานองค์กรของระบบราชก ารและบริการประชาชนพร้อมกัน ไปด้วย ดังนี้คือ
ก. ทำหน้าที่รวบรวมประชาชนที่เ ดือดร้อนให้รวมตัวกันแก้ไขป ัญหาที่เกิดขึ้น และส่วนราชการก็จะเข้าร่วมแ ก้ไขปัญหา ตามหลักทางวิชาการ
ข. ทำหน้าที่รวบรวมความต้องการ พื้นฐานอันแท้จริงของประชาช น และนำกลับมา หาวิธีการพัฒนาเพื่อ ให้บรรลุถึงเป้าหมายและวัตถ ุประสงค์ที่กำหนดไว้ในลักษณ ะแผนงานและโครงการ
ค. ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่ างรัฐและประชาชน เป็นการลดช่องว่างแห่งความไ ม่เข้าใจซึ่งกันและกันให้ลด น้อยลง
ง. ทำหน้าที่เป็นแหล่งเสริมสร้ างการเรียนรู้ของประชาชนและ ราชการ คือ ประชาชนสามารถเข้ามาศึกษาเร ียนรู้เพื่อ พัฒนาอาชีพและราย ได้ให้มั่นคงในทำนองเดียวกั นเจ้าหน้าที่ของรัฐสามารถเร ียนรู้การแก้ไขปัญหาของ แต่ละท้องถิ่น นำไปเป็นแบบฉบับการพัฒนาแก่ พื้นที่อื่นๆ ต่อไป
ทรงไม่ใช้วิธีการสั่งการให้
ทรงใช้หลักประชาธิปไตยในการ
ทรงปฏิรูประบบราชการให้เกิด
ก. ทำหน้าที่รวบรวมประชาชนที่เ
ข. ทำหน้าที่รวบรวมความต้องการ
ค. ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่
ง. ทำหน้าที่เป็นแหล่งเสริมสร้
หลักการบำบัดน้ำเสียโดยการท ำให้เจือจาง (Dilution) ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่ องมาจาก พระราชดำริ "น้ำดีไล่น้ำเสีย" โดยใช้หลักการตามธรรมชาติแห ่งแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) การใช้น้ำคุณภาพดีมาช่วยบรร เทาน้ำเน่าเสีย หรือที่เรียกกันว่า "น้ำดีไล่น้ำเสีย" นั้น ได้แก่ การใช้น้ำที่มีคุณภาพดีช่วย ผลักดันน้ำเน่าเสียออกไป และช่วยให้น้ำเน่าเสียมีสภา พเจือจางลง ทั้งนี้โดยรับน้ำจากแม่น้ำเ จ้าพระยา หรือจากแหล่ง น้ำภายนอกส่งเข้าไปตามคลองต่า ง ๆ เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ หรือคลองบางลำภฯลฯ เป็นต้น ซึ่งกระแสน้ำจะไหลแผ่กระจาย ขยายไปตามคลองซอยที่เชื่อมก ับแม่น้ำเจ้าพระยาอีกด้านหน ึ่ง ดังนั้น
เมื่อการกำหนดวงรอบเกี่ยวกั บการไหลของน้ำไปตามคลองต่าง ๆ นับแต่ปากคลอง ที่น้ำไหลเข้าจนถึงปลายคลอง ที่น้ำไหลออกได้อย่างเหมาะส ม โดยที่น้ำสามารถไหลเวียนไปต ามลำคลองได้ตลอด แล้ว ย่อมสามารถเจือจางน้ำเน่าเส ียและชักพาสิ่งโสโครกไปได้ม าก ซึ่งจะเป็นวิธีการช่วยบรรเท าน้ำเน่าเสียในคลองต่าง ๆ ตอนช่วงฤดูแล้งได้อย่างดี จากแนวพระราชดำริดังกล่าวข้ างต้นนี้ จึงบังเกิดกรรมวิธีในการบำบ ัดน้ำเสีย 2 ประการ ตามแนวพระราชดำริ "น้ำดีไล่น้ำเสีย" คือ
วิธีที่หนึ่ง
ให้เปิดประตูอาคารควบคุมน้ำ รับน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาใน ช่วงจังหวะน้ำขึ้นและระบายอ อกสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ตอนระยะน้ำลง ซึ่งมีผลทำให้น้ำตามลำคลองม ีโอกาสไหลถ่ายเทกันไปมามากข ึ้นกว่าเดิม เกิดมีการหมุนเวียนของน้ำที ่มีสภาพเน่าเสีย กลิ่นเหม็น กลายเป็นน้ำที่มีคุณภาพดีขึ ้น
วิธีที่สอง
ให้ขุดลอกคลองเปรมประชากรพร ้อมทั้งกำจัดวัชพืชเพื่อให้ เป็นคลอง สายหลักในการผันน้ำคุณภาพดี ไปช่วยบรรเทาให้น้ำเสียเจือ จางลงและให้คลองเปรมประชากร ตอนล่างเป็นคลองที่สามารถรั บน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาไปช่ วย บรรเทาน้ำเสียโดยส่งกระจายไ ปตามคลองต่าง ๆของกรุงเทพมหานคร ส่วนคลองเปรมประชากรตอนบนนั ้น ให้หาวิธีรับน้ำเข้าคลองเป็ นปริมาณมาก อย่างรวดเร็ว เพื่อเป็นการเพิ่มระดับน้ำใ ห้สูงขึ้นจะได้สามารถกระจาย น้ำเข้าสู่ทุ่งบางไทร-บางปะ อินเพื่อการเพาะปลูกและเพื่ อให้คลองเปรมประชากรตอนบน มีลักษณะเป็นอ่างเก็บน้ำ เพื่อใช้ผลักดันน้ำเน่าเสีย ในคลองเปรมประชากรตอนล่าง ต่อไปได้
แนวพระราชดำริสองประการนี้ แสดงถึงพระปรีชาสามารถในพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า ทรงเชี่ยวชาญในด้านการแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จร ิงและเป็นวิธีการบำบัดน้ำเส ียอย่างง่าย ประหยัดพลังงาน และสามารถปฏิบัติได้ตลอดเวล าซึ่งแสดงถึงพระปรีชาสามารถ อันสูงยิ่งในพระวิริยะอุตสา หะที่ทรงทุ่มเทเพื่อความสุข ของปวงชนทั้งหลาย
เมื่อการกำหนดวงรอบเกี่ยวกั
วิธีที่หนึ่ง
ให้เปิดประตูอาคารควบคุมน้ำ
วิธีที่สอง
ให้ขุดลอกคลองเปรมประชากรพร
แนวพระราชดำริสองประการนี้ แสดงถึงพระปรีชาสามารถในพระ
ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมอ ันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตามแนวทางการบริหารจัดการด้ านน้ำท่วมล้น (Flood Management)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระรา ชทานแนวพระราชดำริ แก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมห านคร ไว้
5 แนวทาง คือ
ประการแรก สร้างคันกั้นน้ำ โดยปรับปรุงแนวถนนเดิม
ประการที่สอง จัดให้มีพื้นที่สีเขียว (Green Belt) ตามพระราชดำริ เพื่อกันการขยายตัวของเมือง และเพื่อแปรสภาพให้เป็นทางร ะบายน้ำ เมื่อมีน้ำหลาก
ประการที่สาม ดำเนินการขุดลอกคลอง ขยายคลองที่มีอยู่เดิม และขุดใหม่นอกแนวคันกั้นน้ำ
ประการที่สี่ สร้างสถานที่เก็บน้ำตามจุดต ่าง ๆ
ประการที่ห้า ขยายช่องทางรับน้ำที่ผ่านทา งรถไฟและทางหลวง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
5 แนวทาง คือ
ประการแรก สร้างคันกั้นน้ำ โดยปรับปรุงแนวถนนเดิม
ประการที่สอง จัดให้มีพื้นที่สีเขียว (Green Belt) ตามพระราชดำริ เพื่อกันการขยายตัวของเมือง
ประการที่สาม ดำเนินการขุดลอกคลอง ขยายคลองที่มีอยู่เดิม และขุดใหม่นอกแนวคันกั้นน้ำ
ประการที่สี่ สร้างสถานที่เก็บน้ำตามจุดต
ประการที่ห้า ขยายช่องทางรับน้ำที่ผ่านทา
วิธีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมใน ภูมิภาคต่าง ๆ คือ
การก่อสร้างคันกันน้ำ โดยการก่อสร้างคันดินกั้นน้ ำขนานไปตามลำน้ำเพื่อป้องกั น มิให้น้ำล้นตลิ่งไปท่วมในพื ้นที่ต่างๆ ด้านในการก่อสร้างทางผันน้ำ เพื่อผันน้ำทั้งหมดหรือบางส ่วนที่ล้นตลิ่งท่วมล้นเข้าม า ให้ออกไป การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลำ น้ำ เพื่อให้น้ำที่ท่วมทะลักสาม ารถไหลไปตามลำน้ำได้สะดวก หรือช่วยให้กระแสน้ำไหลเร็ว ยิ่งขึ้น การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที ่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริม ณฑล ตามพระราชดำริ "แก้มลิง" ลักษณะและวิธีการของโครงการ แก้มลิง ดำเนินการระบายน้ำออกจากพื้ นที่ตอนบน ให้ไหลลงคลองพักน้ำขนาดใหญ่ ที่บริเวณชายทะเล เมื่อระดับน้ำทะเลลดต่ำกว่า ระดับน้ำในคลอง ก็ทำการระบายน้ำจากคลองดังก ล่าว โดยใช้หลักการทฤษฎีแรงโน้มถ ่วงของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติ สูบน้ำออกจากคลองที่ทำหน้าท ี่ "แก้มลิง" นี้ เพื่อจะได้ทำให้น้ำตอนบนค่อ ยๆ ไหลมาเองตลอดเวลา ส่งผลให้ปริมาณน้ำท่วมพื้นท ี่ลดน้อยลง เมื่อระดับน้ำทะเลสูงกว่าระ ดับน้ำในลำคลองให้ทำการปิดป ระตูระบายน้ำ โดยยึดหลักน้ำไหลลงทางเดียว (One Way Flow) หลักการ 3 ประเด็น ที่โครงการแก้มลิงจะสามารถม ีประสิทธิภาพบรรลุผลสำเร็จต ามแนวพระราชดำริคือ
การพิจารณาสถานที่ที่จะทำหน ้าที่เป็นบ่อพัก และวิธีการชักนำน้ำท่วมไหลเ ข้าสู่บ่อพักน้ำ เส้นทางน้ำไหลที่สะดวกต่อกา รระบายน้ำเข้าสู่แหล่งที่ทำ หน้าที่บ่อพักน้ำ การระบายน้ำออกจากบ่อพักน้ำอย่างต่อเนื ่อง โครงการแก้มลิงฝั่งตะวันออก ของแม่น้ำเจ้าพระยา ใช้คลองชายทะเลที่ตั้งอยู่ร ิมทะเลด้านจังหวัดสมุทรปราก าร ทำหน้าที่เป็นบ่อพักน้ำหรือ บ่อรับน้ำ โครงการแก้มลิงในพื้นที่ฝั่ งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทำหน้าที่รับน้ำในพื้นที่ฝั ่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระย า เพื่อระบายออกทะเลด้านจังห วัดสมุทรสาคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริเพื่ อให้การระบายน้ำท่วมออกทะเล เร็วขึ้นด้วยวิธีการต่าง ๆ คือ โครงการแก้มลิง "แม่น้ำท่าจีนตอนล่าง" ซึ่งใช้หลักการในการควบคุมน ้ำในแม่น้ำท่าจีน คือ เปิดระบายน้ำจำนวนมากลงสู่อ ่าวไทยเมื่อระดับน้ำทะเลต่ำ โครงการแก้มลิงแม่น้ำท่าจีน ตอนล่าง จะมีประสิทธิภาพสมบูรณ์ต้อง ดำเนินการครบระบบ
3 โครงการ ด้วยกัน คือ โครงการแก้มลิง "แม่น้ำท่าจีนตอนล่าง"
โครงการแก้มลิง "คลองมหาชัย-คลองสนามชัย" โครงการแก้มลิง "คลองสุนัขหอน" โครงการแก้มลิงนับเป็นนิมิต รหมายอันเป็นสิ่งที่ชาวไทยท ั้งหลายได้รอดพ้นจากทุกข์ภั ยที่นำความเดือดร้อนแสนลำเค ็ญมาสู่ชีวิตที่อบอุ่นปลอดภ ัย ซึ่งแนวพระราชดำริอันเป็น
ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัด การด้านน้ำท่วมนี้ มีพระราชดำริเพิ่มเติมว่า "...ได้ดำเนินการในแนวทางที ่ถูกต้องแล้ว ขอให้รีบเร่งหาวิธีปรับปรุง และเพิ่ม ประสิทธิภาพต่อไป เพราะโครงการแก้มลิงในอนาคตจะสาม ารถช่วยพื้นที่ได้หลายพื้นท ี่..."
การก่อสร้างคันกันน้ำ โดยการก่อสร้างคันดินกั้นน้
การพิจารณาสถานที่ที่จะทำหน
ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัด
การบำบัดน้ำเสียตามพระราชดำ ริด้วย “กังหันน้ำชัยพัฒนา”
จากการที่สภาพแวดล้อมได้เปล ี่ยนแปลงเกิดเป็นภาวะมลพิษอ ันเกิดจากน้ำเน่าเสียที่มี อัตรา และปริมาณสูงขึ้นจนยากแก่กา รแก้ไขให้บรรเทาเบาบาง และกลับมีแนวโน้มรุนแรงมากย ิ่งขึ้นนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานพระราชดำริให้ป ระดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศแ บบ ประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถผลิตขึ้นได้เองในประเ ทศ โดยทรงมุ่งหวังที่จะช่วยแบ่ งเบาภาระของรัฐบาลในการบรรเทา
น้ำเน่าเสียอีกทางหนึ่งด้วย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุน งบประมาณ เพื่อศึกษาวิจัยสิ่งประดิษฐ ์ใหม่นี้ร่วมกับกรมชลประทาน ซึ่งต่อมาเครื่องมือบำบัดน้ ำเสียนี้เป็นที่รู้จักกันแพ ร่หลาย และเรียกกันว่า"กังหันน้ำชั ยพัฒนา"
การทดลองวิจัยเพื่อประดิษฐ์ เครื่องกลเติมอากาศในขณะนี้ มี 9 รูปแบบ คือ
1. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่า อากาศลงไปใต้น้ำและกระจายฟอ ง Chaipattana Aerator, Model RX-1
2. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่า อากาศหมุนใต้น้ำ หรือ "ชัยพัฒนาซุปเปอร์ฟองแอร์" Chaipattana Aerator, Model RX-3
3. เครื่องกลเติมอากาศแรงดันน้ ำ หรือ "ชัยพัฒนาเวนจูรี่" Chaipattana Aerator, Model RX-4
4. เครื่องกลเติมอากาศระบบอัดแ ละดูดอากาศลงใต้น้ำ หรือ "ชัยพัฒนาแอร์เจท” Chaipattana Aerator, Model RX-5
5. เครื่องกลเติมอากาศแบบตีน้ำ สัมผัสอากาศ หรือ "เครื่องตีน้ำชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-6
6. เครื่องกลเติมอากาศแบบดูดแล ะอัดน้ำลงไปที่ใต้ผิวน้ำ หรือ "ชัยพัฒนาไฮโดรแอร์" Chaipattana Aerator, Model RX-7
7. เครื่องมือจับเกาะจุลินทรีย ์ หรือ "ชัยพัฒนาไบโอ" Chaipattana Bio-Filter, Model RX-8
8. เครื่องกลเติมอากาศแบบกระจา ยน้ำสัมผัสอากาศ หรือ "น้ำพุชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-9
9. เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ ำแบบหมุนช้า หรือ "กังหันน้ำชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-2
เครื่องกลเติมอากาศต่างๆนี้ ได้นำมาติดตั้งใช้งานกับระบ บบำบัดน้ำเสียตามสถานที่ต่า งๆ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2532 และได้มีการปรับปรุงตลอดเวล า เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่จะ ให้มีการบำบัดน้ำเสียอย่างม ีประสิทธิภาพ สะดวกในการใช้งาน ประหยัดค่าใช้จ่าย และบำรุงรักษาได้ง่าย ตลอดจนมีอายุการใช้งานที่ยา วนาน การดำเนินงานในขณะนี้ได้ผลด ีเป็นที่น่าพอใจ ทำให้น้ำใสสะอาดขึ้น ลดกลิ่นเหม็นลงได้มากและมีป ริมาณออกซิเจนในน้ำเพิ่มขึ้ น บรรดาสัตว์น้ำ อาทิเต่า ตะพาบน้ำ และปลา สามารถอยู่อาศัยได้อย่างปลอ ดภัย ตลอดจนสามารถบำบัดความสกปรก ในรูปของมลสารต่างๆ ให้ลดต่ำลง ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ปัจจุบันมีหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ร้องขอให้มูลนิธิชัยพัฒน าเข้าไปช่วยเหลือในการบำบัด น้ำเสียอย่างเร่งด่วนเป็นจำ นวนมากเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เครื่องกลเติมอากาศ "กังหันน้ำชัยพัฒนา" ได้รับการพิจารณาและทูลเกล้ า ฯ ถวายสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธ ย นับเป็นสิ่งประดิษฐ์เครื่อง กลเติมอากาศเครื่องที่ 9 ของโลกที่ได้รับสิทธิบัตร และเป็นครั้งแรกที่ได้มีการ รับจดทะเบียนและออกสิทธิบัต รให้แก่ พระบรมราชวงศ์ด้วย จึงนับได้ว่าเป็น "สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธยขอ งพระมหากษัตริย์พระองค์แรกใ นประวัติศาสตร์ชาติไทยและเป ็นครั้งแรกของโลก" นอกจากนี้ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติได้ประกาศให้กังหันน้ำ ชัยพัฒนาได้รับรางวัลที่ 1 ประเภทรางวัลผลงานคิดค้นหรื อสิ่งประดิษฐ์ซึ่งเป็นประโย ชน์แก่ประเทศชาติ ประจำปี 2536และทูลเกล้า ฯ ถวายรางวัลนี้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวอีกวาระหนึ่ง กังหันน้ำชัยพัฒนาเป็นเครื่ องกลเติมอากาศแบบทุ่นลอย สามารถปรับตัวขึ้นลงได้ ตามระดับขึ้นลงของผิวน้ำ ในแหล่งน้ำเสีย มีส่วนประกอบสำคัญคือ
โครงกังหันน้ำรูป 12 เหลี่ยม
ซองบรรจุน้ำติดตั้งโดยรอบ จำนวน 6 ซอง รูซองน้ำพรุนเพื่อให้น้ำไหล กระจายเป็นฝอย ซองน้ำจะถูกขับเคลื่อนให้หม ุนโดยรอบด้วยเกียร์มอเตอร์ ซึ่งทำให้การหมุนเคลื่อนที่ ของซองน้ำ วิดตักน้ำด้วย ความเร็วสามารถวิดน้ำลึกลงไปจากใต้ผ ิวน้ำประมาณ 0.50 เมตร ยกน้ำสาดขึ้นไปกระจายเป็นฝอ ยเหนือผิวน้ำ ได้สูงถึง 1 เมตร ทำให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสระห ว่างน้ำกับอากาศมากและส่งผล ให้ออกซิเจนสามารถละลายเข้าไปในน้ำ ได้อย่างรวดเร็ว ในขณะที่น้ำเสียถูกยกขึ้นไป สาดกระจายสัมผัสกับอากาศแล้ วตกลงไปยังผิวน้ำนั้น จะก่อให้เกิดฟองอากาศ จมตามลงไปใต้ผิวน้ำด้วย ในขณะที่ซองน้ำกำลังเคลื่อน ที่ลงสู่ผิวน้ำแล้วกดลงไปใต้ผิวน้ำนั้น จะเกิดการอัดอากาศภายในซองน ้ำ ภายใต้ผิวน้ำ จนกระทั่งซองน้ำจมน้ำเต็มที ่ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในกา รถ่ายเทออกซิเจนได้สูงขึ้น หลังจากนั้นน้ำที่ได้รับการ เติมอากาศแล้วจะเกิดการถ่ายเทของน้ำเคลื่อนที่อ อกไปด้วยการผลักดันของซองน้ ำ รวมทั้งการโยกตัวของทุ่นลอย ในขณะทำงานสามารถผลักดันน้ำ ให้เคลื่อนที่ผสมผสานออกซิเ จนเข้ากับน้ำในระดับ ความลึกใต้ผิวน้ำได้เป็นอย่ างดีอีกด้วย จึงก่อให้เกิดกระบวนการทั้ง การเติมอากาศ การกวนแบบผสมผสาน และการทำให้เกิดการไหลของน้ ำเสียไปตามทิศทางที่กำหนดโด ยพร้อมกัน เครื่องกลนี้สามารถที่จะบำบ ัดน้ำเสียที่มีความสกปรก (BOD) 250 มิลลิกรัมต่อลิตร ได้วันละ 600 ลูกบาศก์เมตร ทำให้มีประสิทธิภาพในการลดค ่า BOD ได้สูงกว่า 90 เปอร์เซนต์ และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อ ยมาก โดยเสียค่าใช้จ่ายเพียงลูกบ าศก์เมตรละ 96 สตางค์คิดเป็นจำนวนความสกปรกในหน่ วยกิโลกรัม BOD เสียค่าใช้จ่าย 3.84 บาทเท่านั้น
จากการที่สภาพแวดล้อมได้เปล
น้ำเน่าเสียอีกทางหนึ่งด้วย
การทดลองวิจัยเพื่อประดิษฐ์
1. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่า
2. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่า
3. เครื่องกลเติมอากาศแรงดันน้
4. เครื่องกลเติมอากาศระบบอัดแ
5. เครื่องกลเติมอากาศแบบตีน้ำ
6. เครื่องกลเติมอากาศแบบดูดแล
7. เครื่องมือจับเกาะจุลินทรีย
8. เครื่องกลเติมอากาศแบบกระจา
9. เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้
เครื่องกลเติมอากาศต่างๆนี้
โครงกังหันน้ำรูป 12 เหลี่ยม
ซองบรรจุน้ำติดตั้งโดยรอบ จำนวน 6 ซอง รูซองน้ำพรุนเพื่อให้น้ำไหล
ในทุกคราที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ ยมราษฎรตามพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศนั้น ได้ทรงถามเกษตรกรและทอดพระเ นตรพบสภาพปัญหาการขาดแคลนน้ ำเพื่อการปลูกข้าวและเกิดแร งดลพระราชหฤทัย อันเป็นแนวคิดขึ้นว่าข้าวเป ็นพืชที่แข็งแกร่งมากหากได้ น้ำเพียงพอจะสามารถเพิ่มปริ มาณเม็ดข้าวได้มากยิ่งขึ้น หากเก็บน้ำฝนที่ตกลงมาไว้ได ้แล้วนำมาใช้ในการเพาะปลูกก ็จะสามารถเก็บเกี่ยวได้มากข ึ้นเช่นกัน การสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่นับวันแต่จะ ยากที่จะดำเนินการได้เนื่อง จากการขยายตัวของชุมชนและข้ อจำกัด ของปริมาณที่ดิน เป็นอุปสรรคสำคัญ หากแต่ละครัวเรือนมีสระน้ำป ระจำไร่นาทุกครัวเรือนแล้ว เมื่อรวมปริมาณกันก็ย่อมเท่ ากับปริมาณในอ่างเก็บน้ำขนา ดใหญ่ แต่สิ้นค่าใช่จ่ายน้อยและเก ิด ประโยชน์สูงสุด โดยตรงมากกว่า ในเวลาต่อมาได้พระราชทานพระ ราชดำริให้ทำการทดลอง"ทฤษฎี ใหม่" เกี่ยวกับการจัดการที่ดินแล ะแหล่งน้ำ เพื่อการเกษตรขึ้น ณ วัดมงคลชัยพัฒนา ตำบลห้วยบง อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี
แนวทฤษฎีใหม่ กำหนดขึ้นดังนี้ ให้แบ่งพื้นที่ถือครองทางกา รเกษตร ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วเกษตรกรไท ย
มีเนื้อที่ดินประมาณ 10-15 ไร่ต่อครอบครัว แบ่งออกเป็น สัดส่วน
30-30-30-10 คือ ส่วนแรก : ร้อยละ 30 เนื้อที่เฉลี่ย 3 ไร่
ให้ทำการขุดสระกักเก็บน้ำไว ้ใช้ในการเพาะปลูก โดยมีความลึกประมาณ 4 เมตร ซึ่งจะสามารถรับน้ำได้จุถึง 19,000 ลูกบาศก์เมตร โดยการรองรับจากน้ำฝน ราษฎรจะสามารถนำน้ำนี้ไปใช้ ในการเกษตร ได้ตลอดปีและยังสามารถ เลี้ยงปลาและปลูกพืชน้ำ พืชริมสระ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบ ครัวอีกทางหนึ่งด้วย
ส่วนที่สอง : ร้อยละ 60 เนื้อที่เฉลี่ย ประมาณ 10 ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตรปลูกพ ืชผลต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่นี้ออกเป็น 2 ส่วน คือ ร้อยละ 30 ใน ส่วนที่หนึ่ง : ทำนาข้าว ประมาณ 5 ไร่
ร้อยละ 30 ใน ส่วนที่สอง : ปลูกพืชไร่หรือพืชสวนตามแต่ สภาพของพื้นที่และ ภาวะตลาดประมาณ 5 ไร่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงคำนวนโดยใช้หลักเกณฑ์ว่า ในพื้นที่ทำการเกษตร นี้ต้องมีน้ำใช้ในช่วงฤดูแล ้ง ประมาณ 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ถ้าหากแบ่งแต่ละแปลงเกษตรให ้มีเนื้อที่ 5 ไร่ ทั้ง 2 แห่งแล้ว ความต้องการต้องใช้ประมาณ 10,000 ลูกบาศก์เมตร ที่จะต้องเป็นน้ำสำรองไว้ใช ้ในยามฤดูแล้ง ร้อยละ 10 ใน ส่วนที่สาม : เป็นพื้นที่ที่เหลือ มีเนื้อที่เฉลี่ยประมาณ 2 ไร่ จัดเป็นที่อยู่อาศัยถนนหนทา ง คันคูดินหรือคูคลอง ตลอดจนปลูกพืชสวนครัว และเลี้ยงสัตว์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแนวพระราชดำริอ ันเป็นหลักปฏิบัติสำคัญยิ่ง ในการดำเนินการ คือ วิธีการนี้สามารถใช้ปฏิบัติ ได้กับเกษตรกรผู้เป็นเจ้าขอ งที่ดินที่มีพื้นที่ดินจำนวนน้อย แปลงเล็ก ๆ ประมาณ 15 ไร่ (ซึ่งเป็นอัตราถือครองเนื้อ ที่การเกษตรโดยเฉลี่ยของเกษ ตรกรไทย) มุ่งให้เกษตรกรมีความพอเพีย งในการเลี้ยงตัวเองได้(Self Sufficiency) ในระดับชีวิตที่ประหยัดก่อน โดยมุ่งเน้นให้เห็นความสำคั ญของความสามัคคีกันในท้องถิ ่น กำหนดจุดมุ่งหมายให้สามารถผ ลิตข้าวบริโภคได้เพียงพอทั้ งปีโดยยึดหลักว่าการทำนา 5 ไร่ของครอบครัวหนึ่งนั้น จะมีข้าวพอกินตลอดปีซึ่งเป็ นหลักสำคัญของทฤษฎีใหม่นี้ นอกจากนี้ยังทรงคำนึงถึงการ ระเหยของน้ำในสระหรืออ่างเก ็บน้ำลึก 4 เมตร ของเกษตรกรด้วยว่า ในแต่ละวันที่ไม่มีฝนตกคาดว ่าน้ำระเหย วันละ 1 ซม. ดังนั้น เมื่อเฉลี่ยว่าฝนไม่ตกปีละ 300 วันนั้น ระดับน้ำในสระจะลดลง 3 เมตร จึงควรมีการเติมน้ำให้เพียงพอ เนื่องจากน้ำเหลือก้นสระเพี ยง 1 เมตร เท่านั้น ดังนั้น การมีแหล่งน้ำขนาดใหญ่เพื่อ คอยเติมน้ำในสระเล็ก จึงเปรียบ เสมือนมีแท้งค์น้ำใหญ่ ๆ ที่มีน้ำสำรองที่จะเติมน้ำอ่างเล็กให้เต็ มอยู่เสมอ จะทำให้แนวทางปฏิบัติสมบูรณ ์ขึ้น กรณีของการทดลองที่วัดมงคลช ัยพัฒนา ทรงเสนอวิธีการดังนี้ จากภาพตุ่มน้ำเล็กคือสระน้ำ ที่ราษฎรขุดขึ้นตามทฤษฎีใหม่นี้ เมื่อเกิดช่วงขาดแคลนน้ำในฤ ดูแล้ง ราษฎรก็สามารถ สูบน้ำมาใช้ประโยชน์ได้ และหากน้ำในสระไม่เพียงพอก็ ขอรับน้ำจากอ่างห้วยหินขาว ซึ่งได้ทำระบบส่งน้ำเชื่อมต่อลงมายังสระน้ำท ี่ได้ขุดไว้ในแต่ละแปลงซึ่ง จะช่วยให้สามารถมีน้ำใช้ตลอ ดปี ในกรณีราษฎรใช้น้ำกันมากอ่า งห้วยหินขาวก็อาจมีปริมาณน้ ำไม่เพียงพอ หากโครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าส ักสมบูรณ์แล้ว ก็ใช้วิธีการสูบน้ำจากป่าสั กมาพักในหนองน้ำใดหนองน้ำหน ึ่ง แล้วสูบต่อลงมาในอ่างเก็บน้ ำห้วยหินขาวก็จะช่วยให้มีปร ิมาณน้ำใช้มากพอตลอดปีทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวพระราชด ำริใหม่ที่บัดนี้ได้รับการพ ิสูจน์และยอมรับกันอย่าง กว้างขวางในหมู่เกษตรกรไทยแ ล้วว่า พระราชดำริของพระองค์เกิดขึ ้นด้วย พระอัจฉริภาพ สูงส่งที่สามารถนำไปปฏิบัติ
แนวทฤษฎีใหม่ กำหนดขึ้นดังนี้ ให้แบ่งพื้นที่ถือครองทางกา
ส่วนที่สอง : ร้อยละ 60 เนื้อที่เฉลี่ย ประมาณ 10 ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตรปลูกพ
ร้อยละ 30 ใน ส่วนที่สอง : ปลูกพืชไร่หรือพืชสวนตามแต่
(เครดิต สื่ออาเซียน- สื่อการเรียนการสอน สำหรับภาพและข้อมูล)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น